วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี 26/03/58
เรียนครั้งที่ 11 เวลาเรียน 8:30-12:20
กลุ่ม 101 วันพฤหัสบดี
*ในวันนี้เป็นการสอบเก็บคะแนน เป็นข้อเขียน ทั้งหมด5ข้อ เต็ม10คะแนน ข้อสอบเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งที่เราเรียนกันมา เรื่องของพฤติกรรมเด็กในแบบต่างๆ เราจะมีวิธีแก้ไขหรือดูแลอย่างไรเป็นต้น
บิว
วันพฤหัสบดีที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2558
วันพฤหัสบดีที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2558
บันทึกอนุทินครั้งที่ 10
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี 19/03/58
เรียนครั้งที่ 10 เวลาเรียน 8:30-12:20
กลุ่ม 101 วันพฤหัสบดี
(ความรู้ที่ได้รับ)
1. กิจกรรมแบบทดสอบเพื่อผ่อนคลายสนุกสนานที่อาจารย์ได้เตรียมมา
2. เรียนเรื่องการส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ ทักษะการช่วยเหลือตนเอง ความรู้ที่ได้คือ >>>
- เรียนรู้การดำรงชีวิตโดยอิสระให้มากที่สุด
- การกินอยู่ - การเข้าห้องน้ำ
- การแต่งตัว - กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี 19/03/58
เรียนครั้งที่ 10 เวลาเรียน 8:30-12:20
กลุ่ม 101 วันพฤหัสบดี
(ความรู้ที่ได้รับ)
1. กิจกรรมแบบทดสอบเพื่อผ่อนคลายสนุกสนานที่อาจารย์ได้เตรียมมา
2. เรียนเรื่องการส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ ทักษะการช่วยเหลือตนเอง ความรู้ที่ได้คือ >>>
- เรียนรู้การดำรงชีวิตโดยอิสระให้มากที่สุด
- การกินอยู่ - การเข้าห้องน้ำ
- การแต่งตัว - กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน
การสร้างความอิสระ
- เด็กอยากช่วยเหลือตนเอง - อยากทำงานตามความสามารถ
- เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน
เด็กที่โตกว่า และผู้ใหญ่
ความสำเร็จเป็นสิ่งสำคัญ
- การได้ทำด้วยตนเอง - เชื่อมั่นในตนเอง - เรียนรู้ความรู้สึกที่ดี
หัดให้เด็กทำเอง
- ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็น (ใจแข็ง)
- ผู้ใหญ่มักทำสิ่งต่างๆให้เด็กมากเกินไป
- ทำให้แม้กระทั่งสิ่งที่เด็กสามารถทำได้เองหากให้เวลาเขาทำ
- “ หนูทำช้า ” “ หนูยังทำไม่ได้ ”
จะช่วยเมื่อไหร่
- เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร ,
หงุดหงิด , เบื่อ , ไม่ค่อยสบาย
- หลายครั้งเด็กจะขอความช่วยเหลือในสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
- เด็กรู้สึกว่ายังมีผู้ใหญ่ที่พึ่งได้
แต่ต้องได้รับความช่วยเหลือเฉพาะสิ่งที่เด็กต้องการ
- มักช่วยเด็กในช่วงกิจกรรม
# ทักษะการช่วยเหลือตนเอง เช่น (อายุ 3-4 ปี)
(การแต่งตัว)
- ถอดเสื้อได้เรียบร้อย รวดเร็ว
- ใส่เสื้อ ,ถอดกระดุม ,ซิปได้คล่อง
-
เก็บเสื้อแขวนใส่ตู้ได้
(การกินอาหาร)
- ใช้ช้อนส้อมได้คล่อง
- รินน้ำจากเหยือกใส่แก้วได้
-
กินอาหารรวมกับคนอื่นในครอบครัวได้ แต่อาจอืดอาด
(การอาบน้ำและการเข้าห้องน้ำ)
-
ชอบอาบน้ำเอง
-
เล่นน้ำในอ่างจะไม่ค่อยเลิก
-
อาบไม่สะอาด
- ตื่นนอนตอนกลางวันและขอให้พาไปห้องน้ำ
(ทั่วไป)
-
บอกอายุ เพศ ชื่อนามสกุล ตนเองได้
-
ทำตามคำสั่ง 2-3 อย่างได้
-
แยกจากพ่อแม่ไปโรงเรียนได้
ลำดับขั้นในการช่วยเหลือตนเอง
- แบ่งทักษะการช่วยเหลือตนเองออกเป็นขั้นย่อยๆ
- เรียงลำดับตามขั้นตอน
(เช่นการเข้าส้วม)
1.) เข้าไปในห้องส้วม 2.) ดึงกางเกงลงมา 3.) ก้าวขึ้นไปนั่งบนส้วม
4.) ปัสสาวะหรืออุจจาระ 5.) ใช้กระดาษชำระเช็ดก้น 6.) ทิ้งกระดาษชำระในตะกร้า
7.) กดชักโครกหรือตักน้ำราด 8.) ดึงกางเกงขึ้น 9.) ล้างมือ 10.) เช็ดมือ
11.) เดินออกจากห้องส้วมการ
วางแผนทีละขั้น
11.) เดินออกจากห้องส้วมการ
วางแผนทีละขั้น
- แยกกิจกรรมเป็นขั้นย่อยๆให้มากที่สุด
สรุป
- ครูต้องพยายามให้เด็กทำสิ่งต่างๆด้วยตนเอง
- ย่อยงานแต่ละอย่างเป็นขั้นๆ
- ความสำเร็จขั้นเล็กๆนำไปสู่ความสำเร็จทั้งมวล
- ช่วยให้เด็กมีความมั่นใจในตนเอง
- เด็กพึ่งตนเองได้ รู้สึกเป็นอิสระ
3. กิจกรรมระบายสีเป็นวงกลมตามใจชอบ
- อาจารย์แจกกระดาษและสีเทียนให้ทุกคน
- ต่อมาวาดเป็นวงกลม เลือกสีตามใจชอบ โดยการวนสีเป็นวงกลมหลายๆชั้น
- เสร็จแล้วใช้กรรไกรตัดกระดาษเป็นรูปวงกลมตามที่เราวาดไว้
- นำวงกลมของทุกคนในห้องมาติดรวมกันเป็นต้นไม้นั้นเอง
ภาพประกอบการเรียนการสอน
(การนำไปประยุกต์ใช้)
เราสามารถนำการเรียนรู้ในวันนี้ไปปรับใช้ในสถานการณ์ต่างๆได้ เช่นในห้องเรียนเราจะทำยังไงถ้าเจอเด็กที่แตกต่างกัน ภาษาที่เราควรใช้กับเด็กให้ถูกต้อง และกิจกรรมสุดท้ายน่าสนใจมากเพราะเราสามารถนำไปใช้ได้จริงในการบำบัดเด็กและมีความสวยงามอย่างมากนั้นเอง
(การประเมินผล)
ตนเอง = วันนี้มาเรียนเข้าเรียนตรงต่อเวลา ในเวลาเรียนก็ตั้งใจฟังในสิ่งที่ครูสอน แต่บางครั้งก็มีพูดคุยกับเพื่อนๆบ้าง เมื่อมีการทำงานก็จะตั้งใจทำงานโดยเฉพาะงานวาดรูประบายสี มีส่วนร่วมในกิจกรรมงาน อาจมีการพูดคุยกับเพื่อนนิดหน่อยค่ะ
เพื่อน = เพื่อนๆเข้าเรียนกันแต่เช้า ในชั้นเรียนตั้งใจทำงานที่อาจารย์สั่งมาก เมื่อมีกิจกรรมใด ทุกคนในห้องก็จะให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีเสมอ
อาจารย์ = อาจารย์มีงานให้ทำที่ไม่ยากและง่ายเกิน นอกจากนี้อาจารย์ยังได้อธิบายเนื้อหาอย่างเข้าใจได้ง่ายมากขึ้น ทำให้นักศึกษาเข้าใจ ชอบกิจกรรมที่อาจารย์เตรียมมามากค่ะ สนุกสนานและได้ลงมือทำงานกับเพื่อนๆนั้นเอง
ขอบคุณค่ะ
นางสาว วรัญญา ตุลา
วันพฤหัสบดีที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2558
บันทึกอนุทินครั้งที่ 9
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี 12/03/58
เรียนครั้งที่ 9 เวลาเรียน 8:30-12:20
กลุ่ม 101 วันพฤหัสบดี
(ความรู้ที่ได้รับ)
1. กิจกรรมแบบทดสอบเพื่อผ่อนคลายที่อาจารย์ได้เตรียมมาให้
2. ทบทวนการร้องเพลงเกี่ยวกับเด็กปฐมวัยที่อาจารย์เคยแจก
3. เรียนเรื่องการส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ ทักษะภาษา ความรู้ที่ได้คือ >>>
การวัดความสามารถทางภาษา
4. กิจกรรมศิลปะ-ดนตรีบำบัด
- จับคู่กัน 2คน ต่อกระดาษ 1แผ่น และเลือกสีที่ชอบมาคนล่ะ1สี
- เมื่ออาจารย์เปิดเพลง ลากไปตามอารมณ์ของเพลง วาดยังไงก็ได้ แต่ห้ามยกสีออกจากกระดาษ
- เมื่อเพลงจบให้หยุดได้
- เสร็จแล้ว ให้ระบายสีไปที่ช่องปิดตายให้ครบทุกช่องนั้นเอง
ภาพประกอบการเรียนการสอน
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี 12/03/58
เรียนครั้งที่ 9 เวลาเรียน 8:30-12:20
กลุ่ม 101 วันพฤหัสบดี
(ความรู้ที่ได้รับ)
1. กิจกรรมแบบทดสอบเพื่อผ่อนคลายที่อาจารย์ได้เตรียมมาให้
2. ทบทวนการร้องเพลงเกี่ยวกับเด็กปฐมวัยที่อาจารย์เคยแจก
3. เรียนเรื่องการส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ ทักษะภาษา ความรู้ที่ได้คือ >>>
การวัดความสามารถทางภาษา
- เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม
- ตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยไหม
- ถามหาสิ่งต่างๆไหม
- บอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นไหม
- ใช้คำศัพท์ของตัวเองกับเด็กคนอื่นไหม
การออกเสียงผิด / พูดไม่ชัด
- การพูดตกหล่น - การใช้เสียงหนึ่งแทนอีกเสียง - ติดอ่าง
การปฏิบัติของครูและผู้ใหญ่
- ไม่สนใจการพูดซ้ำหรือการออกเสียงไม่ชัด
- ห้ามบอกเด็กว่า “พูดช้าๆ” “ตามสบาย” “คิดก่อนพูด”
- อย่าขัดจังหวะขณะเด็กพูด
- อย่าเปลี่ยนการใช้มือข้างที่ถนัดของเด็ก
- ไม่เปรียบเทียบการพูดของเด็กกับเด็กคนอื่น
- เด็กที่พูดไม่ชัดอาจเกี่ยวข้องกับการได้ยิน
ทักษะพื้นฐานทางภาษา
- ทักษะการรับรู้ภาษา
- การแสดงออกทางภาษา
- การสื่อความหมายโดยไม่ใช้คำพูด
พฤติกรรมตอบสนองการแสดงออกทางภาษา
เด็กตอบสนองต่อสิ่งเหล่านี้หรือไม่ เช่น
- เสียงของครูโดยหันมามอง
- ต่อคำถาม "เอาอะไร"ด้วยการชี้
- ต่อประโยค "ช่วยเอาให้ที"
ความรับผิดชอบของครูปฐมวัย
- การรับรู้ภาษามาก่อนการแสดงออกทางภาษา
- ภาษาที่ไม่ใช่คำพูดมาก่อนภาษาพูด
- ให้เวลาเด็กได้พูด
- คอยให้เด็กตอบ (ชี้แนะหากจำเป็น)
- เป็นผู้ฟังที่ดีและโตต้อบอย่างฉับไว
(ครูไม่พูดมากเกินไป)
- เด็กไม่ได้เรียนรู้ภาษาจากการฟังเพียงอย่างเดียว
- ให้เด็กทำกิจกรรมกลุ่ม
เด็กพิเศษได้มีแบบอย่างจากเพื่อน
- กระตุ้นให้เด็กบอกความต้องการของตนเอง
(ครูไม่คาดการณ์ล่วงหน้า)
- เน้นวิธีการสื่อความหมายมากกว่าการพูด
- ใช้คำถามปลายเปิด
- เด็กพิเศษรับรู้มากเท่าไหร่ ยิ่งพูดได้มากเท่านั้น
- ร่วมกิจกรรมกับเด็ก
การสอนตามเหตุการณ์ (Incidental Teaching)
4. กิจกรรมศิลปะ-ดนตรีบำบัด
- เมื่ออาจารย์เปิดเพลง ลากไปตามอารมณ์ของเพลง วาดยังไงก็ได้ แต่ห้ามยกสีออกจากกระดาษ
- เมื่อเพลงจบให้หยุดได้
- เสร็จแล้ว ให้ระบายสีไปที่ช่องปิดตายให้ครบทุกช่องนั้นเอง
ภาพประกอบการเรียนการสอน
(การนำไปประยุกต์ใช้)
เราสามารถนำการเรียนรู้ในวันนี้ไปปรับใช้ในสถานการณ์ต่างๆได้
เช่นในห้องเรียนเราจะทำยังไงถ้าเจอเด็กที่แตกต่างกัน
ภาษาที่เราควรใช้กับเด็กให้ถูกต้อง และนอกจากนี้เรายังสามารถนำเพลงที่อาจารย์สอนร้องนี้ไปใช้สอนเด็กได้ในเรื่องที่เกี่ยวกับความหมายของเพลงอีกด้วย
และกิจกรรมสุดท้ายน่าสนใจมากเพราะเราสามารถนำไปใช้ได้จริงในการบำบัดเด็กนั้นเอง
(การประเมินผล)
ตนเอง = วันนี้มาเรียนเข้าเรียนตรงต่อเวลา
เลยได้ดาวเด็กดี ในเวลาเรียนก็ตั้งใจฟังในสิ่งที่ครูสอน แต่บางครั้งก็มีพูดคุยกับเพื่อนๆบ้าง
เมื่อมีการทำงานก็จะตั้งใจทำงานโดยเฉพาะงานวาดรูประบายสี
มีส่วนร่วมในกิจกรรมงานคู่ อาจมีการพูดคุยกับเพื่อนนิดหน่อยค่ะ
เพื่อน = เพื่อนๆเข้าเรียนกันแต่เช้า
ในชั้นเรียนตั้งใจทำงานที่อาจารย์สั่งมาก เมื่อมีกิจกรรมใด ทุกคนในห้องก็จะให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีเสมอ
อาจารย์ =
อาจารย์มีงานให้ทำที่ไม่ยากและง่ายเกิน
นอกจากนี้อาจารย์ยังได้อธิบายเนื้อหาอย่างเข้าใจได้ง่ายมากขึ้น
ทำให้นักศึกษาเข้าใจ และยังมีการร้องเพลงอีกด้วย
ชอบกิจกรรมที่อาจารย์เตรียมมามากค่ะ สนุกสนานและได้ลงมือทำงานกับเพื่อนที่จับคู่กันนั้นเอง
ขอบคุณค่ะ
นางสาว วรัญญา ตุลา
บันทึกอนุทินครั้งที่ 8
วันพุธที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2558
บันทึกอนุทินครั้งที่ 7
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)